คำอธิบายรายวิชา


รายวิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ       รหัสวิชา   ง 40206        จำนวน   2    ชั่วโมง / สัปดาห์
ระดับชั้นที่สอน มัธยมศึกษาปีที่4-6     ภาคเรียนที่ 2 / 2553     ครูผู้สอน  นายวันดี  กุมภาพันธ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพฯ
                         โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย เพชรบูรณ์
คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาข้อมูลสารสนเทศและการประมวลผลของมูลเป็นสารสนเทศพร้อมหลักการและขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เครื่องมือการออกแบบโปรแกรม โครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ ลักษณะเด่นและด้อยของภาษาคอมพิวเตอร์ ประเภทข้อมูล องค์ประกอบของคำสั่ง การคำนวณและเปรียบเทียบ ขั้นตอนในการทำงานของโอเปอเรชันคำนวณ คำสั่งต่าง ๆ ในภาษาคอมพิวเตอร์ ฟังก์ชั่นเบื้องต้น การเขียนโปรแกรมงานต่าง ๆ โดยใช้คำสั่งและฟังก์ชันเบื้องต้นในภาษาใดภาษาหนึ่งกับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
            ปฏิบัติการ วิเคราะห์โจทย์ปัญหา  ออกแบบโปรแกรม และเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่ง
ภาษาคอมพิวเตอร์
            เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา สามารถออกแบบโปรแกรมและเขียนโปรแกรมใช้งานรวมทั้งสามารถนำไปประยุกต์ใช้งานได้


ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
1.      เข้าใจเกี่ยวกับภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
2.      เข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ปัญหา
3.      เข้าใจในขั้นตอนวิธีการอัลกอริทึม
4.      เข้าใจการทดสอบขั้นตอนการแก้ปัญหา
5.      เข้าใจความหมายและประเภทของผังงาน และใช้ผังงานในการจำลองทางความคิดได้
6.      ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาแบบสคริปต์
7.      ผู้เรียนสามารถเขียนภาษา JavaScript ได้
8.      ผู้เรียนสามารถเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำด้วยภาษา JavaScript
9.      ผู้เรียนสามารถสร้างและใช้งานฟังก์ชั่นในภาษา JavaScript ได้
10.  ผู้เรียนสามารถจัดการเหตุการณ์ของเว็บเพจด้วยภาษา JavaScript ได้

สาระการเรียนรู้

หน่วยการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้
ชั่วโมง
หน่วยที่  1
- ภาษาคอมพิวเตอร์และการพัฒนาโปรแกรม
1. ชี้แจงข้อตกลงและรายละเอียดการเรียน
2. โปรแกรมภาษา
3. ประเภทของโปรแกรม
4. ภาษาคอมพิวเตอร์สำหรับพัฒนาโปรแกรม
5. ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
2 ชั่วโมง
หน่วยที่  2
- การกำหนดและวิเคราะห์ปัญหา
6. หลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์ปัญหา
7. อัลกอริทึมกับการแก้ปัญหา
8. การทดสอบขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
2 ชั่วโมง
หน่วยที่ 3
- การเขียนผังงาน
9. ความหมายของผังงาน
10. ประเภทของผังงาน
11. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน
12 หลักเกณฑ์การเขียนผังงาน
13. ลักษณะโครงสร้างการเขียนผังงาน
14. เครื่องมือสำหรับเขียนผังงาน
4 ชั่วโมง
หน่วยที่ 4 แนะนำจาวาสคริปเบื้องต้น
- เมื่อไหร่ต้องใช้ JavaScript ?
- ต้องรู้อะไรก่อนที่จะเรียน JavaScript ?
- สิ่งที่ต้องเตรียมเมื่อจะเขียน JavaScript
- การใส่ JavaScript ลงในเวบเพจ
- วิธีการป้องกันการแสดงผลผิดพลาดจาก บราวเซอร์ที่ไม่รู้จัก JavaScript
- การทำ Include ไฟล์
- การใส่ Comment ใน JavaScript
- แสดงผลของ TAG HTML ด้วย JavaScript


4 ชั่วโมง
หน่วยที่ 5 ตัวแปร
- การตั้งชื่อตัวแปร
- ชนิดของตัวแแปร
- ตัวแปรชนิดตัวเลข : Integer and Floating-Point
- ตัวแปรชนิดตรรก : Logical Values
- ตัวแปรชนิดข้อความ : String
- ตัวแปรว่างเปล่า : ค่า null
- ตารางผสมตัวแปรต่างชนิด
- Function เปลี่ยนชนิดตัวแปร
- การใช้ Array
- การสร้าง Array แบบกำหนดค่าทันที
- การใช้ Array หลายมิติ

4 ชั่วโมง
หน่วยที่ 6 การดำเนินการเกี่ยวกับตัวเลข
- Arithmetic Operator
- Logical Operator
- Comparison Operator
- Assignment Operator
8 ชั่วโมง
หน่วยที่ 7 ลักษณะโครงสร้างของการเขียนโปรแกรม
- Data Declarations
- If...else
- for
- While
- Do..While
- Break
- Continue
- Switch
8 ชั่วโมง
หน่วยที่ 8 Function
- การเรียกใช้ Function
- การประกาศ Function
- การประกาศ Function ที่มีจำนวนพารามิเตอร์ไม่คงที่
- Return Statement
- ตัวแปรแบบ Global and Local

4 ชั่วโมง
หน่วยที่ 9 Event
- Event คืออะไร
- วิธีการใช้ Event
- ตารางสรุป event
2 ชั่วโมง
หน่วยที่ 10 OOP for JavaScript
+ Object คืออะไร
   - 1. Properties
   - 2. Method
+ Class คืออะไร
2 ชั่วโมง

กิจกรรมการเรียนการสอน
1. แบบบรรยาย
2. การสาธิตและปฏิบัติตาม
3. ศึกษาด้วยตนเอง
4. กระบวนการกลุ่ม

สื่อการเรียนการสอน

การวัดและประเมินผล  100 คะแนน
1. การวัดระหว่างภาคเรียน                                   80        คะแนน
            1.1 คะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 1                5          คะแนน
            1.2 คะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 2                5          คะแนน
            1.3 คะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 3                10        คะแนน
            1.4 คะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4                10        คะแนน
            1.5 คะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 5                10        คะแนน
            1.6 คะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 6                10        คะแนน
            1.7 คะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 7                10        คะแนน
            1.8 คะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 8                10        คะแนน
            1.9 คะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 9                10        คะแนน
            1.10 คะแนนหน่วยการเรียนรู้ที่ 10            10        คะแนน
2. การสอบปลายภาคเรียน                                   20        คะแนน

เกณฑ์การตัดสิน
ระดับคะแนน
79.5 -100
74.5 -79.5
69.5 -74.5
64.5 69.5
59.5 64.5
54.5 59.5
49.5 54.5
0 49.5
เกรด
4
3.5
3
2.5
2
1.5
1
0
ความหมาย
ดีเยี่ยม
ดีมาก
ดี
ค่อนข้างดี
น่าพอใจ
พอใช้
ผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ
ต่ำกว่าเกณฑ์